พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย  กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" มีหลักการ คือ หลักความเท่าเทียมกัน (Functional Equivalence) ระหว่าง “กระดาษ” และ “ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” เพื่อให้การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีผลทางกฎหมายเทียบเท่าการใช้กระดาษ หลักความเป็นกลางทางเทคโนโลยี (Technological Neutrality) ที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจงเทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่ง แต่รองรับพัฒนาการของเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  หลักเสรีภาพการแสดงเจตนา (Party Autonomy) ของคู่สัญญา ที่มาของภาพ…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

ทำไมเราจำเป็นต้องมี ECM

ECM จะช่วยแก้ปัญหาการแข่งขันทางธุรกิจ ในยุคปัจจุบันได้อย่างไร         บริษัทส่วนใหญ่ พบว่าพวกเขาต้องการ ECM หลังจากค้นพบปัญหาในการดำเนินธุรกิจ บ่อยครั้งมาจากการจัดการเอกสารจำนวนมาก หรือ ข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดระบบ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาคอขวดในการนำไปใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของกระบวนการทำงาน การเข้าถึงข้อมูล หรือการจัดเก็บข้อมูล ตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การจัดการข้อมูลการกู้เงิน มีการใช้ข้อมูลหรือเอกสารมากมาย ถ้าเอกสารหาย จะใช้เวลานานขึ้นกว่าการพิจารณาการขอกู้เงินจะสำเร็จ  ซึ่งงานเหล่านี้จะง่ายและประหยัดเวลามากขึ้นเมื่อใช้ ECM           แล้วปัญหาของคุณคืออะไร…

Continue Readingทำไมเราจำเป็นต้องมี ECM